กิจกรรมที่ 16
สอบครั้งที่ 2
ให้นักศึกษาให้ความหมายของคำศัพท์ต่อไปนี้
1. Classroom Management
2. Happiness Classroom
3. Life-long Education
4. formal Education
5. non-formal education
6. E-learning
7. graded
8. Policy education
9. Vision
10. Mission
11. Goals
12. Objective
13. backward design
14. Effectiveness
15 . Efficiency
16. Economy
17. Equity
18. Empowerment
19. Engagement
20 . project
21 . activies
22. Leadership
23 . leaders
24. Follows
25. Situations
26. Self awareness
27. Communication
28. Assertiveness
29. Time management
30. POSDCoRB
31. Formal Leaders
32. Informal Leaders
33. Environment
34. Globalization
33. Competency
34. Organization Cultural
35. Individual Behavior
36. Group Behavior
37. Organization Behavior
38. Team working
39. Six Thinking Hats
40. Classroom Action Research
1. Classroom Management
2. Happiness Classroom
3. Life-long Education
4. formal Education
5. non-formal education
6. E-learning
7. graded
8. Policy education
9. Vision
10. Mission
11. Goals
12. Objective
13. backward design
14. Effectiveness
15 . Efficiency
16. Economy
17. Equity
18. Empowerment
19. Engagement
20 . project
21 . activies
22. Leadership
23 . leaders
24. Follows
25. Situations
26. Self awareness
27. Communication
28. Assertiveness
29. Time management
30. POSDCoRB
31. Formal Leaders
32. Informal Leaders
33. Environment
34. Globalization
33. Competency
34. Organization Cultural
35. Individual Behavior
36. Group Behavior
37. Organization Behavior
38. Team working
39. Six Thinking Hats
40. Classroom Action Research
ให้นักศึกษาให้ความหมายของคำศัพท์ต่อไปนี้
1.Classroo Managemen การ บริหารจัดการ ในชั้นเรียนการ( Classroom management ที่ครู ผู้สอนจะจัดการเรียนรู้ในห้องเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพนั้นและการบริหาร จัดการในห้องเรียนเป็นเรื่องที่ครูผู้สอนต้องตระหนักถึงเริ่มตั้งแต่ตัวครู ต้องมีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีมีบุคลิกภาพที่แสดงถึงความเมตตาและเป็นมิตรกับผู้ เรียนรู้จักผู้เรียนเป็นรายบุคคลรู้ภูมิหลังความถนัดและความสนใจของผู้เรียน ซึ่งครูผู้สอนควรมีเครื่องมือและทักษะในการรวบรวมข้อมูลซึ่งอาจเป็นแบบ สังเกต แบบสัมภาษณ์ การทำสังคมมิติ และการศึกษารายกรณีเป็นต้น นอกจากนั้นการควบคุมชั้นเรียนเป็นเรื่องที่ครูควรให้ความสนใจหากพบนักเรียน ที่ปัญหาครูจะดำเนินการอย่างไรครูต้องรู้ว่านักเรียนที่สอนอยู่ในวัยใดวัย ของเขาสนใจใฝ่รู้อะไรหากครูออกแบบการจัดการเรียนได้สอดคล้องกับแต่ละช่วงวัย ของผู้เรียนและสอดคล้องกับความถนัดของผู้เรียนจะส่งผลให้ผู้เรียนมีความสนใจ และตั้งใจในการเรียนมากขึ้น
2. Happiness Classroom การจัดห้องเรียนให้ มีความสุข โดยครูกับนักเรียนต้องให้ความร่วมมือกันทั้งสองฝ่ายจึงจะเกิดผลดีต่อผู้ เรียนและผู้สอนและเด็กกับครูก็จะมีบทบาทหน้าที่ที่สำคัญต่างกันออกไป
3. Life-long Education การ เรียนรู้ตลอด ชีวิต (Lifelong Learning) หมายถึง การรับรู้ ทักษะ และเจตคติ ตั้งแต่เกิดจนตายจากบุคคลหรือสถาบันใดๆ โดยสามารถ จะเรียนรู้ด้วยวิธีเรียนต่างๆ อย่างมีระบบหรือไม่มีระบบทั้งนี้สามารถทำให้บุคคลเกิดการพัฒนาด้วยตนเอง เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต และปรับตนเองให้ก้าวทันความเปลี่ยนแปลงของสังคมการเมืองและเศรษฐกิจของโลก ได้ 4. formal Education การศึกษาในระบบ (Formal Education) เป็นการศึกษาที่มีรูปแบบและระบบแบบแผนชัดเจน มีการกำหนดวัตถุประสงค์ หลักสูตรวิธีการจัดการเรียนการสอน การวัดผล และการประเมินผลที่แน่นอน ซึ่งการศึกษาในระบบของไทยประกอบไปด้วยการศึกษาขั้นพื้นฐานและการศึกษาในขั้น อุดมศึกษา โดยการศึกษาขั้นพื้นฐาน ถูกแบ่งออกเป็นระดับ
ต่าง ๆ คือ ระดับ ก่อนประถมศึกษา ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ยังถูกแบ่งเป็น ประเภทสามัญศึกษาและประเภทอาชีวศึกษาอีกด้วยสำหรับ ในการศึกษาขั้นอุดมศึกษานั้นแบ่งออกเป็น ระดับต่างๆคือต่ำกว่าปริญญาตรีปริญญาตรี ประกาศนียบัตรบัณฑิต ปริญญาโท และปริญญาเอกตามที่กระทวง ศึกษาธิการต้องการ
5. Non-formal education การ ศึกษานอกระบบหมายถึง “การ จัดการกิจกรรมการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ แต่นอกกรอบของการจัดการศึกษาในระบบโรงเรียนปกติ โดยมุ่งบริการให้คนกลุ่มต่างๆ ของประชากร ทั้งที่เป็นผู้ใหญ่และเด็ก”โดยเน้นการเรียนรู้ (Learning)แต่ใน ปัจจุบันการศึกษานอกระบบคือกระบวนการจัดการพัฒนาสมรรถนะของผู้เรียนทั้งที่ เป็นทัศนคติทักษะและความรู้ซึ่งทำได้ยืดหยุ่นกว่าการเรียนในระบบโรงเรียน ทั่วไป สมรรถนะที่เกิดจากการศึกษานอกระบบมีตั้งแต่ทักษะในการเรียนรู้ด้วยตนเอง การ ทำงานเป็นกลุ่ม การแก้ไข ความขัดแย้งการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม การเป็นผู้นำ การแก้ปัญหาร่วมกัน การสร้างความเชื่อมั่นความรับผิดชอบและความมีวินัย การศึกษานอกระบบยุคใหม่จึงเน้นการเรียนรู้และเข้าใจด้วยตนเอง
6. E-learning การเรียนการสอนในลักษณะ หรือรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งก็ได้ ซึ่งการถ่ายทอดเนื้อหานั้น กระทำหรือผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น ซีดีรอม เครือข่ายอินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต เอ็กซเรย์ หรือ ทางสัญญาณโทรทัศน์ หรือ สัญญาณดาวเทียม (Satellite) เป็น ต้น
ต่าง ๆ คือ ระดับ ก่อนประถมศึกษา ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ยังถูกแบ่งเป็น ประเภทสามัญศึกษาและประเภทอาชีวศึกษาอีกด้วยสำหรับ ในการศึกษาขั้นอุดมศึกษานั้นแบ่งออกเป็น ระดับต่างๆคือต่ำกว่าปริญญาตรีปริญญาตรี ประกาศนียบัตรบัณฑิต ปริญญาโท และปริญญาเอกตามที่กระทวง ศึกษาธิการต้องการ
5. Non-formal education การ ศึกษานอกระบบหมายถึง “การ จัดการกิจกรรมการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ แต่นอกกรอบของการจัดการศึกษาในระบบโรงเรียนปกติ โดยมุ่งบริการให้คนกลุ่มต่างๆ ของประชากร ทั้งที่เป็นผู้ใหญ่และเด็ก”โดยเน้นการเรียนรู้ (Learning)แต่ใน ปัจจุบันการศึกษานอกระบบคือกระบวนการจัดการพัฒนาสมรรถนะของผู้เรียนทั้งที่ เป็นทัศนคติทักษะและความรู้ซึ่งทำได้ยืดหยุ่นกว่าการเรียนในระบบโรงเรียน ทั่วไป สมรรถนะที่เกิดจากการศึกษานอกระบบมีตั้งแต่ทักษะในการเรียนรู้ด้วยตนเอง การ ทำงานเป็นกลุ่ม การแก้ไข ความขัดแย้งการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม การเป็นผู้นำ การแก้ปัญหาร่วมกัน การสร้างความเชื่อมั่นความรับผิดชอบและความมีวินัย การศึกษานอกระบบยุคใหม่จึงเน้นการเรียนรู้และเข้าใจด้วยตนเอง
6. E-learning การเรียนการสอนในลักษณะ หรือรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งก็ได้ ซึ่งการถ่ายทอดเนื้อหานั้น กระทำหรือผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น ซีดีรอม เครือข่ายอินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต เอ็กซเรย์ หรือ ทางสัญญาณโทรทัศน์ หรือ สัญญาณดาวเทียม (Satellite) เป็น ต้น
7. Graded การ เรียนระดับชั้น ก็คือ ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นมัธยมศึกษาตอนปลายปริญญาตรี ประกาศนียบัตรบัณฑิต ปริญญาโท และปริญญาเอก เป็นต้น
8. Policy education นโยบาย การศึกษา ด้านการศึกษามีดังนี้ 1.ปฏิรูปการ ศึกษาทั้งระบบ โดยปฏิรูปโครงสร้างและการบริหารจัดการ ปรับปรุงกฎหมายให้สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญ และปรับปรุงการบริหารจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานจนถึงระดับ อุดมศึกษา พัฒนาครู พัฒนาระบบการคัดเลือกเข้าสู่มหาวิทยาลัย พัฒนาหลักสูตร รวมทั้งปรับหลักสูตรวิชาแกนหลักรวมถึงวิชาประวัติศาสตร์ ปรับปรุงสื่อการเรียนการสอน พัฒนาทักษะในการคิดวิเคราะห์ ปรับบทบาทการศึกษานอกโรงเรียนเป็นสำนักงานการศึกษาตลอดชีวิต และจัดให้มีศูนย์การศึกษาตลอดชีวิต
2.ส่งเสริม ให้ภาคเอกชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาการศึกษาทั้งระบบ โดยมุ่งเน้นในระดับอาชีวศึกษา และอุดมศึกษา เพื่อให้สนองตอบความต้องการด้านบุคลากรของภาคเศรษฐกิจ
3.พัฒนาครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา เพื่อให้ได้ครูดี ครูเก่ง มีคุณธรรม มีคุณภาพและลดภาระงานครูที่ไม่เกี่ยวกับการเรียนการสอนตามโครงการคืนครูให้ นักเรียนมีการดูแลคุณภาพชีวิตของครูด้วยการปรับโครงสร้างหนี้และจัดตั้งกอง ทุนพัฒนาคุณภาพชีวิตครูควบคู่ไปกับการลงทุนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่เน้นการ พัฒนาเนื้อหาสาระและบุคลากรให้พร้อมรองรับและใช้ประโยชน์จากระบบเทคโนโลยี สารสนเทศได้อย่างคุ้มค่า
2.ส่งเสริม ให้ภาคเอกชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาการศึกษาทั้งระบบ โดยมุ่งเน้นในระดับอาชีวศึกษา และอุดมศึกษา เพื่อให้สนองตอบความต้องการด้านบุคลากรของภาคเศรษฐกิจ
3.พัฒนาครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา เพื่อให้ได้ครูดี ครูเก่ง มีคุณธรรม มีคุณภาพและลดภาระงานครูที่ไม่เกี่ยวกับการเรียนการสอนตามโครงการคืนครูให้ นักเรียนมีการดูแลคุณภาพชีวิตของครูด้วยการปรับโครงสร้างหนี้และจัดตั้งกอง ทุนพัฒนาคุณภาพชีวิตครูควบคู่ไปกับการลงทุนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่เน้นการ พัฒนาเนื้อหาสาระและบุคลากรให้พร้อมรองรับและใช้ประโยชน์จากระบบเทคโนโลยี สารสนเทศได้อย่างคุ้มค่า
4.จัดให้ทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาฟรี ๑๕ ปี ตั้งแต่ระดับอนุบาลไปจนถึงมัธยมศึกษาตอนปลาย พร้อมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการให้เกิดความเสมอภาคและความเป็น ธรรมในโอกาสทางการศึกษาแก่ประชากร
5.ยกระดับ คุณภาพมาตรฐานการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษาไปสู่ความเป็นเลิศโดยการ จัดกลุ่มสถาบันการศึกษาตามศักยภาพปรับเงินเดือนค่าตอบแทนของผู้สำเร็จการ ศึกษาระดับอาชีวศึกษาให้สูงขึ้น โดยภาครัฐเป็นผู้นำและเป็นแบบอย่างที่ดี
6.ปรับปรุงระบบการบริหาร จัดการกองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาให้มี การประนอมและไกล่เกลี่ยหนี้ รวมทั้งขยายกองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาเพิ่มขึ้นเพื่อให้ประชาชนมีโอกาสใน การเข้าถึงการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและปริญญาตรีเพิ่มขึ้น
7. ส่งเสริมให้เด็ก เยาวชน และประชาชนใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศเชิงสร้างสรรค์อย่างชาญฉลาด เพื่อเสริมสร้างการเรียนรู้
8.เร่งรัดการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้อย่าง บูรณาการในทุกระดับการศึกษาและในชุมชน โดยใช้พื้นที่และโรงเรียนเป็นฐานในการบูรณาการทุกมิติและยึดเกณฑ์การประเมิน ของสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาเป็นหลัก
9. Vision วิสัยทัศน์ คือ การ สร้างภาพอนาคต หรือการมองอนาคตซึ่งจะเป็นเป้าหมายในการเดินไปสู่อนาคตโดยวิธีการนำเอาระบบ การวางแผนมาใช้หรือหมายถึงสิ่งที่อยากเห็นในอนาคตและเป็นสิ่งที่ดีกว่าเดิม วิสัยทัศน์จะเกิดจากการรู้จักคิดโดยใช้ปัญญาและมุ่งมั่นให้เกิดขึ้นจริงซึ่ง วิสัยทัศน์ที่ดีนั้นมีคุณสมบัติเฉพาะ8ประการ ดังนี้
1.มุ่งเน้นอนาคต 2.เต็มไปด้วยความ สุข 3.ความเหมาะสม 4.สะท้อนความฝันสูง สุด 5.อธิบายจุดมุ่ง หมาย 6.ดลบันดาลความ กระตือรือร้น 7.สะท้อนความเป็น หนึ่งเดียว 8. ความมักใหญ่ใฝ่ สูง
10. Mission พันธ์กิจมีคำที่ใช้แทนกันอยู่หลายคำ เช่น ภารกิจหรือปณิธานพันธ์กิจคือ จุดมุ่งหมายพื้นฐานซึ่งแสดงเหตุผลหรืออธิบายว่าทำไมองค์กรจึงถือกำเนิดขึ้น มาหรือดำรงอยู่เป็นหลักการที่ใช้เป็นแนวทางในการตัดสินใจ กำหนดเป้าหมาย วัตถุประสงค์ และยุทธศาสตร์
1.มุ่งเน้นอนาคต 2.เต็มไปด้วยความ สุข 3.ความเหมาะสม 4.สะท้อนความฝันสูง สุด 5.อธิบายจุดมุ่ง หมาย 6.ดลบันดาลความ กระตือรือร้น 7.สะท้อนความเป็น หนึ่งเดียว 8. ความมักใหญ่ใฝ่ สูง
10. Mission พันธ์กิจมีคำที่ใช้แทนกันอยู่หลายคำ เช่น ภารกิจหรือปณิธานพันธ์กิจคือ จุดมุ่งหมายพื้นฐานซึ่งแสดงเหตุผลหรืออธิบายว่าทำไมองค์กรจึงถือกำเนิดขึ้น มาหรือดำรงอยู่เป็นหลักการที่ใช้เป็นแนวทางในการตัดสินใจ กำหนดเป้าหมาย วัตถุประสงค์ และยุทธศาสตร์
11. Goals เป้าหมาย (GOAL) คือสิ่งที่เราต้องการ ไปให้ถึง มาจากความต้องการ ความหวัง จินตนาการ ความใฝ่ฝันที่ผู้บริหารสร้างขึ้นแต่ต้องอยู่ในกรอบที่ไม่เพ้อฝันและสามารถ บรรลุได้ด้วยกระบวนการจัดการเป้าหมายไม่ได้เป็นตัวบ่งบอกความสำเร็จ
12. Objective หมายถึง เป้าหมายเพื่อไปให้ถึงทีเราต้องการจะไปหรือเป้าหมายที่ตัวเองต้องการ
13.backward design การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนของครูขึ้นอยู่กับการเรียนรู้ของครูและการ พัฒนาตนเองให้มีความสามารถและมีคุณลักษณะของครูพันธ์ใหม่หรือมืออาชีพเพื่อ เรียนรู้และการทำงานของครูต้องไม่แยกจากกันครูควรมีโอกาสเรียนรู้อย่างต่อ เนื่องแลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์กับเพื่อนครู ผู้เชี่ยวชาญ ศึกษานิเทศก์ แล้วนำความรู้เหล่านั้นไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอนของตน การไตร่ตรอง ทบทวน พัฒนา ปรับปรุง เกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนของครูทำให้เกิดความเข้าใจผลของการลงมือ ปฏิบัติแล้วนำผลการปฏิบัตินั้นแลกเปลี่ยนเรียนรู้และเผยแพร่ต่อผู้อื่น
14. effectiveness คือ การทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งในที่นี้หมายถึงทำงานได้อย่างมีคุณภาพและถูกต้องและครูควรปฎิบัติในหน้า ทีของตนเองให้ดีที่สุด
14. effectiveness คือ การทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งในที่นี้หมายถึงทำงานได้อย่างมีคุณภาพและถูกต้องและครูควรปฎิบัติในหน้า ทีของตนเองให้ดีที่สุด
15.efficiencyคือการทำ งานอย่างมีประสิทธิผลและประสิทธิภาพต่อตนเองและผู้อื่นเป็นอย่างดี
16.Economy เศรษฐกิจ (Economy) คือ การกระทำใด ๆ อันก่อให้เกิด การ ผลิตการ จำหน่ายและการบ ริโภค ซึ่งความหมายในทางเศรษฐกิจจะแตกต่าง จากความหมายที่เข้าใจกันโดยทั่วไปบ้าง ดังนี้
1. การ ผลิต คือ การกระทำเพื่อให้เกิดผลที่สามารถตีค่าออกมาเป็นเงินได้หากการกระทำใดซึ่งผล ของการกระทำแม้จะมีคุณค่ามีประโยชน์แต่ไม่สามารถตีค่าออกมาเป็นเงินได้การ กระทำนั้นในความหมายทางเศรษฐกิจไม่ถือเป็นการผลิตและผลของการกระทำก็ไม่ เรียกผลผลิตอาจจะเรียกเป็นผลงาน
. 2. การจำหน่ายคือ การนำผลผลิตไปเสนอต่อผู้ที่มีความต้องการหรือกล่าวอีกอย่างหนึ่งก็คือการนำ ผลผลิตไปสู่ตลาด เพื่อให้เกิดการซื้อขายกันขึ้น
3.การบ ริโภค คือ การจับจ่ายใช้สอยรวมถึงการรับประทานด้วยจะมองเห็นได้ว่าเศรษฐกิจนั้นจะเน้น ที่ราคาหรือเงินของบางสิ่งถึงแม้จะมีประโยชน์ซึ่งมนุษย์และสิ่งมีชีวิตจะขาด เสียมิได้ เช่น อากาศสำหรับหายใจแต่เนื่องจากอากาศมีอยู่ทั่วไปซื้อขายกันไม่ได้อากาศจึงไม่ ถือเป็นปัจจัยทางเศรษฐกิจแต่ถ้ามีคนเอาอากาศนั้นมาบรรจุในภาชนะเพื่อจำหน่าย อากาศเช่นนั้นก็กลายเป็นปัจจัยทางเศรษฐกิจไปดังนั้นเมื่อพูดถึงเรื่อง เศรษฐกิจจึงต้องเกี่ยวข้องกับราคาหรือเงิน
17. Equity ความเสมอภาคมีหลักความเสมอภาคอาจ แยกได้2 ประเภท ดังนี้คือ
1. หลักความ เสมอภาคทั่วไป
หลักความเสมอภาค ทั่วไปเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของบุคคลทุกคนที่อาจกล่าวอ้างกับการกระทำใด ๆ ของรัฐได้ เช่น ตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา 30 ว่า "บุคคลย่อมเสมอกันในทาง กฎหมาย และได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายเท่าเทียมกัน"
2. หลักความเสมอภาคเฉพาะเรื่อง
หลักความเสมอภาค เฉพาะเรื่อง คือ หลักความเสมอภาคที่ใช้เฉพาะภายในขอบเขตเรื่องใดเรื่องหนึ่งเป็นการเฉพาะ เช่น หลักความเสมอภาคเฉพาะเรื่องเกี่ยวกับชายและหญิง ซึ่งบัญญัติไว้ในมาตรา 30 วรรค 2 ของรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย นอกจากนั้นยังปรากฏในมาตรา 54 "บุคคล อายุเกิน 60 ปีบริบูรณ์ และไม่มีรายได้เพียงพอแก่การยังชีพมีสิทธิได้รับการช่วยเหลือ"
พัฒนาการแนวคิด เกี่ยวกับสิทธิ เสรีภาพและความเสมอในด้านการศึกษาตามรัฐธรรมนูญไทย
17. Equity ความเสมอภาคมีหลักความเสมอภาคอาจ แยกได้2 ประเภท ดังนี้คือ
1. หลักความ เสมอภาคทั่วไป
หลักความเสมอภาค ทั่วไปเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของบุคคลทุกคนที่อาจกล่าวอ้างกับการกระทำใด ๆ ของรัฐได้ เช่น ตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา 30 ว่า "บุคคลย่อมเสมอกันในทาง กฎหมาย และได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายเท่าเทียมกัน"
2. หลักความเสมอภาคเฉพาะเรื่อง
หลักความเสมอภาค เฉพาะเรื่อง คือ หลักความเสมอภาคที่ใช้เฉพาะภายในขอบเขตเรื่องใดเรื่องหนึ่งเป็นการเฉพาะ เช่น หลักความเสมอภาคเฉพาะเรื่องเกี่ยวกับชายและหญิง ซึ่งบัญญัติไว้ในมาตรา 30 วรรค 2 ของรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย นอกจากนั้นยังปรากฏในมาตรา 54 "บุคคล อายุเกิน 60 ปีบริบูรณ์ และไม่มีรายได้เพียงพอแก่การยังชีพมีสิทธิได้รับการช่วยเหลือ"
พัฒนาการแนวคิด เกี่ยวกับสิทธิ เสรีภาพและความเสมอในด้านการศึกษาตามรัฐธรรมนูญไทย
18. Empowerment การสร้างเสริมพลังการ กระตุ้นเร้าให้ กลุ่มเป้าหมายเกิดความตระหนักในศักยภาพที่ตนมี และดึงศักยภาพนั้นออกมาใช้อย่างเต็มที่และเต็มใจเพื่อปรับปรุงพัฒนาวิถี ชีวิตวิถีการทำงานให้บรรลุผลสำเร็จ ซึ่งผลสำเร็จที่เกิดขึ้นนี้จะมีความต่อเนื่องและยั่งยืน
19.Engagement การทำให้ พนักงานในองค์กรรู้สึกผูกพันกับองค์กรความหมายของ Engagement นั้น จะต้องเป็นพนักงานที่ทุ่มเทแรงกายแรงใจเพื่อสร้างผลงานที่ดีเยี่ยมให้กับ องค์กรด้วยคือไม่ใช่อยู่ไปวันๆ แล้วบอกว่ารักองค์กรรู้สึกดีกับองค์กรก็เลยไม่อยากไปไหนแต่ก็ไม่สามารถสร้าง ผลงานใดๆ ที่ดีขึ้นด้วย
20 project แผนงาน เช่นโครงการ, โครงการวิจัย
21.Actives การกระตือรือร้น เช่น การกระทำอย่างมีชีวิตชีวา
22.Leadership ความสามารถในการเป็นผู้นำ
23. Leaders ผู้นำ
24. Follows ตาม เช่น เดินตาม, ติดตาม, เจริญรอยตาม, ตามอย่าง
25. Situations สถานการณ์
26. Self awareness การตระหนักรู้ในตนเอง (Self-awareness) หมายถึง การรู้ว่าตนเองมีภาวะภายในอย่างไร มีความ ชอบไม่ชอบในเรื่องอะไรบ้าง มีความสามารถทางด้านใดบ้าง และมีญาณหยั่งรู้
27. Communication การสื่อสาร (Communication) หมายถึง กระบวนการส่งข่าวสารข้อมูลจากผู้ส่งข่าวสารไปยังผู้รับข่าวสาร มีวัตถุประสงค์เพื่อชักจูงให้ผู้รับข่าวสาร มีปฏิกิริยาตอบสนองกลับมาโดยคาดหวังให้เป็นไปตามที่ผู้ส่งต้องการ
28. Assertiveness การยืนยันในความคิดตน
29. Time management การบริหารเวลา
30. POSDCORB หัวหน้าฝ่ายบริหารมีหน้าที่และบทบาททางการบริหารอยู่ 7 ประการ คือ การวางแผน การจัดองค์การ การบรรจุ การสั่งการ การประสานงาน การรายงานและการงบประมาณ
31. Formal Leaders ผู้บังคับบันชาในหน่วยงานต่างๆ
32. Informal Leaders ผู้นำที่ไม่ใช้ผู้บังคับบันชาเช่นผู้นำของชลเผ่า
33. Environment สภาพแวดล้อม
34. Globalization โลกาภิสวัตถ์ การแพร่หลายไปทั่วโลก
33. Competency ความสามารถเชิงสมรรถนะหมายถึงความรู้ ทักษะ และความสามารถของมนุษย์ที่แสดงผ่านพฤติกรรม
34. Organization Cultural ความหมายของวัฒนธรรมองค์กร (Organizational Culture) วัฒนธรรมองค์กร หมายถึง ค่านิยมและความเชื่อที่มีร่วมกันอย่างเป็นระบบที่เกิดขึ้นในองค์การ และใช้เป็นแนวทางในการกำหนดพฤติกรรมของคนในองค์การนั้น วัฒนธรรมองค์การจึงเป็นเสมือน “บุคลิกภาพ” (Personality) หรือ “จิตวิญญาณ” (Spirit) ขององค์การ
35. Individual Behaviorพฤติกรรมระดับบุคคลนี้ มีองค์ประกอบหลายอย่างที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมของบุคคล การรับรู้ ทัศนคติ ค่านิยม การจูงใจ
36. Group Behavior พฤติกรรมกลุ่ม (Group Behavior) นอกจากจะศึกษาระดับกลุ่มบุคคลแล้ว อีกระดับหนึ่งที่จำเป็นต้องศึกษา คือ พฤติกรรมระดับกลุ่ม ทั้งนี้เนื่องจากบุคคลจะต้องมีส่วนเกี่ยวข้องกับบุคคลอื่น ๆ ในหน่วยงาน พฤติกรรมที่เกิดขึ้นระหว่างบุคคล 2 บุคคล หรือระหว่างบุคคลกับกลุ่มจะมีผล เนื่องมาจากองค์ประกอบหลายอย่างในตัวบุคคล
37. Organization Behavior พฤติกรรมองค์กร (Organization Behavior) รูปแบบของพฤติกรรมองค์กรนี้ จะแสดงถึงอิทธิพลขององค์ประกอบต่างๆ ในองค์กร พฤติกรรมในระดับนี้ได้รับอิทธิพลส่วนใหญ่จากบุคคล ซึ่งเป็นผู้นำในองค์กรนั้นๆ ภาวะของผู้เป็นผู้นำจะมีบทบาทสำคัญในการเสริมสร้างให้เกิดพฤติกรรมในระดับสาม ภาวะผู้นำนี้ยังบ่งบอกถึงว่าองค์กรได้เน้นให้มีการสื่อสารมากน้อยแค่ไหน ซึ่งการติดต่อสื่อสารนี้จะเป็นสิ่งที่ประสานให้องค์กรอยู่ได้
38. Team working การทำงานเป็นกลุ่ม คือ “บุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปมีปฏิสัมพันธ์ (Interacting) ต่อกันและมีการพึ่งพา (Interdependent) ต่อกันและกัน เพื่อจะบรรลุวัตถุประสงค์ร่วมกัน”
39. Six Thinking Hats หรือการคิดแบบหมวก 6 ใบนั้นคือกระบวนการหาความคิดสร้างสรรค์ หรือความคิดใหม่ๆ ที่น่าสนใจและง่ายต่อการนำไปใช้
40. Classroom Action Research การวิจัยในชั้นเรียน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น